อ่านอันนี้เข้าใจทันที
ถามตอบ ประกอบรูป
Q1: กฎหมายที่ออกใหม่ กระทบกองทุนรวมที่มีการลงทุนในตราสารหนี้อย่างไรบ้าง ?
A1: จะถูกหักภาษี 15% จากดอกเบี้ยที่ได้รับซึ่งเดิมไม่มีภาษีส่วนนี้ (ตามมาตรา 67 ในกฎหมายใหม่)
...
Q2: กองทุนรวมจะถูกหักภาษีเฉพาะรายได้จากตราสารหนี้เท่านั้นใช่หรือไม่ ?
A2: ไม่ใช่แค่จากตราสารหนี้ จากนี้ไปกองทุนรวมจะถูกหักภาษีรายได้จากดอกเบี้ยทุกชนิด ทั้งจากเงินฝาก พันธบัตร หุ้นกู้ ตั๋วเงิน และเงินให้กู้ยืม (ตามมาตรา40 (40)(ก) ในกฎหมายเดิม)
...
Q3: กองทุนผสมหรือกองทุนหุ้น ที่มีรายได้บางส่วนเป็นดอกเบี้ย ไม่เกี่ยวกับเรื่องนี้ใช่หรือไม่ ?
A3: เกี่ยวด้วย เพราะกฎหมายไม่ได้ระบุประเภทกองทุนรวม ดังนั้น กองทุนรวมประเภทใด ๆ ถ้ามีรายได้ดอกเบี้ย ก็จะถูกหักภาษีจากรายได้ส่วนนี้เหมือนกันหมด
...
Q4: กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หรือ RMF ที่มีรายได้จากดอกเบี้ยจะกระทบอย่างไรบ้าง ?
A4: ตามกฎหมายใหม่นี้ ยังไม่ระบุข้อยกเว้นสำหรับกองทุนดังกล่าว ต้องติดตามดูต่อไป ว่าจะมีเกณฑ์ออกมาเพิ่มหรือไม่
...
Q5: กองทุนรวมที่ไม่มีรายได้ดอกเบี้ยเลย จะได้รับกระทบอย่างไร ?
A5: ในทางทฏษฎี จะไม่ได้รับผลกระทบใด ๆ .. แต่ในทางปฏิบัติ แทบไม่มีกองทุนรวมไหนเลยที่ไม่มีรายได้เป็นดอกเบี้ยรวมอยู่ด้วย เช่น กองทุนหุ้น หรือกองทุนที่ลงทุนในกองทุนต่างประเทศอีกต่อหนึ่ง ก็ยังมีส่วนที่สำรองสภาพคล่องไว้เป็นเงินฝาก (ซึ่งจะได้ดอกเบี้ย และต่อไปจะเสียภาษี)
...
Q6: เริ่มเก็บภาษีเมื่อไร ย้อนหลังหรือไม่ ?
A6: ไม่เก็บภาษีย้อนหลัง และจะเริ่มเก็บจากรายได้ดอกเบี้ยที่กองทุนได้รับตั้งแต่ 20 ส.ค. 62 เป็นต้นไป
...
Q7: เหตุผลในการออกกฎหมายใหม่ครั้งนี้ ตามที่อธิบายไว้ในพรบ.ฯ คืออะไร ?
A7: เดิมการลงทุนโดยตรงมีภาระภาษีจากดอกเบี้ย แต่การลงทุนผ่านกองทุนรวมได้รับยกเว้น จึงเห็นควรให้ภาระภาษีทั้งสองรูปแบบมีความสอดคล้องกัน
...
Q8: มูลค่ากองทุนรวมที่เข้าข่ายจะได้รับผลกระทบมีเยอะแค่ไหน ? คิดเป็นเงินภาษีประมาณเท่าไร ?
A8: แม้กองทุนใด ๆ ที่มีรายได้เป็นดอกเบี้ยจะได้รับผลกระทบทั้งหมด แต่กองทุนตราสารหนี้ ที่มีรายได้ดอกเบี้ยเป็นหลัก มีจำนวน 2.62 ล้านล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 50% ของกองทุนรวมทั้งหมดในประเทศไทย (ข้อมูลจาก AIMC ณ เม.ย.62 ) สมมติกองทุนตราสารหนี้มีรายได้ดอกเบี้ย 2% ต่อปี หรือ 52,390 ลบ.ต่อปี จะเกิดเป็นภาษีเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 7,850 ลบ.ต่อปี และนั่นคือ Wealth ของนักลงทุนที่จะถูกดึงออกไปทุกปี
อ้างอิง
• พรบ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 52) พ.ศ. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พ.ค. 62 มีผล 90 วันนับจากวันประกาศ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/…/P…/2562/A/067/T_0103.PDF
• ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (4)(ก) https://www.rd.go.th/publish/5937.0.html
....
เกี่ยวกับ TIF | thailandinvestmentforum.com/about
「ประมวลรัษฎากร มาตรา 40」的推薦目錄:
- 關於ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最讚貼文
- 關於ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS Facebook 的精選貼文
- 關於ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最讚貼文
- 關於ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 เงินได้มาตรา 40(1) และ 40(2) แตกต่างกันหรือไม่ คำนวณภาษีเงินได้ ... 的評價
- 關於ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 ขอนำสรุปประเด็นภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส แห่ง ... 的評價
ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS Facebook 的精選貼文
#กรมสรรพากร ชี้แจง !! เลื่อนธนาคารส่งข้อมูลให้กรมสรรพากร
.
.
กฎหมายจะเริ่มมีผลบังคับใช้ในปี 2563 และจะมีผลต่อการยื่นแบบเสียภาษีในปี 2564 ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขรายละเอียดในการดำเนินงาน
.
.
เป็นข่าวที่น่ายินดี ธุรกิจรีบใช้เวลานี้ในการศึกษา ปรับตัว ในการทำข้อมูลบัญชี ภาษีให้ถูกต้องตามจริง ธุรกิจเติบโดยั่งยืนอย่างสบายใจ ไม่ต้องพะวงเรื่องค่าปรับภาษี
.
.
#TAS19 #รับคำนวณผลประโยชน์พนักงาน #กฎหมายแรงงาน
.
.
🙏กด LIKE กด Share เป็นกำลังใจให้ทีมงาน🙏
และอย่าลืม !! กดติดดาว ⭐ #See_First ⭐
▶️ เพจ TAS19 คำนวณผลประโยชน์พนักงาน โดยนักคณิตศาสตร์ประกันภัย ABS
👨💼 พิเชฐ เจียรมณีทวีสิน - ทอมมี่ แอคชัวรี - นักคณิตศาสตร์ประกันภัย
🖥 www.actuarialbiz.com
🆔 LINE@ : @abstas19
♾ https://line.me/R/ti/p/%40abstas19
⭐ จะได้ไม่พลาดข่าวสารสำคัญจากเรา ⭐
กรมสรรพากรย้ำกฎหมาย e-Payment ส่งเสริมธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เตรียมใช้ AI แยกผู้เสียภาษีกลุ่มดีหรือกลุ่มเสี่ยง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างความเป็นธรรม
.............................................
นายปิ่นสาย สุรัสวดี โฆษกกรมสรรพากร ได้กล่าวถึง ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ...) พ.ศ. ... เพื่อรองรับระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) ว่าทางกรมยืนยันว่าการยกร่างแก้ไขกฎหมาย ได้ผ่านการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ ไม่ได้เป็นการแก้ไขกฎหมายที่กระทบต่อสิทธิ เสรีภาพของประชาชนที่เกินกว่าเหตุ เป็นการใช้สิทธิที่ชอบเพื่อประโยชน์สาธารณะ
โดยการแก้ไขกฎหมายมีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เสียภาษี เป็นส่วนหนึ่งของแผนของกรมที่จะเดินหน้าเรื่องอิเล็กทรอนิกส์อย่างเต็มรูปแบบ สาระสำคัญคือ จะช่วยให้การเสียภาษี หัก ณ ที่จ่าย ในอัตรา 3% ซึ่งจากเดิมผู้เสียภาษีจะต้องเตรียมเอกสารมายื่นต่อกรมเอง แต่สถาบันการเงินจะหักภาษีและเป็นผู้ยื่นให้กรมสรรพากรแทนทั้งหมด รวมทั้งกฎหมายใหม่ จะเป็นการรองรับระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิสก์ในการยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ของผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจากเดิมที่ต้องยื่นเอกสารเป็นกระดาษ ก็จะเปลี่ยนเป็นระบบอิเล็กทรอนิสก์แทน
ส่วนกรณีที่กฎหมายกำหนดให้สถาบันการเงินรวมถึง non-Bank ต้องแจ้งข้อมูลบัญชีที่รับเงินเข้าในข่ายที่เป็นธุรกรรมพิเศษ ประกอบด้วย 1.การฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกันตั้งแต่ 3,000 ครั้งต่อปีต่อธนาคาร และ 2. การฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกันตั้งแต่ 400 ครั้งต่อปีต่อธนาคาร และยอดรวมของการรับฝากตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไปนั้น กรมฯ ยืนยันว่าเป็นการส่งข้อมูลเท่านั้น ไม่ได้เอาไปตรวจสอบเรียกเก็บภาษี เพราะไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบง่ายๆ กรมต้องการเฉพาะข้อมูลเพื่อไปทำการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้เสียภาษี กลุ่มผู้เสียภาษี เพื่อทำแผนปรับปรุงประสิทธิภาพจัดเก็บต่อไป
“กรมไม่ได้มีเจตนาแก้ไขกฎหมายโดยมุ่งไปตรวจสอบใคร ธนาคารมีหน้าที่ส่งข้อมูลมาให้กรม และข้อมูลทุกอย่างจะอยู่ในระบบ ไม่มีเจ้าหน้าที่กรมคนไหนได้เห็นข้อมูลที่ส่งมา จะส่งมาเฉพาะ ชื่อ นามสกุล จำนวนครั้งที่ฝากโอน และวงเงินที่ได้รับเท่านั้น” นายปิ่นสาย กล่าว
ส่วนกรณีที่กังวลว่าจะไปเรียกเก็บภาษีจากกลุ่มพ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ และกลุ่มเอสเอ็มอีหรือไม่นั้น กรมยืนยันว่าการแก้ไขกฎหมาย ไม่ได้มีเจตนาโดยตรงที่จะเข้าไปจัดเก็บ ซึ่งตามประมวลรัษฎากร หากกลุ่มผู้ค้าดังกล่าว มีรายได้ถึงเกณฑ์ ก็ต้องยื่นแบบเสียภาษีอยู่แล้ว ไม่ได้หมายความว่ามีการออกกฎหมายแล้วจะต้องเสียภาษี เพราะทุกคนมีหน้าที่เสียภาษีให้ถูกต้อง โดยตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (2-8) กำหนดให้อาชีพอิสระต้องเสียภาษีเหมาจ่าย 0.5% ของรายได้ หรือนำรายได้ไปคูณด้วย 0.005 ซึ่งหากกลุ่มผู้ค้าออนไลน์มีรายได้ถึงเกณฑ์เข้าบัญชี 2 ล้านบาท ก็จะเสียภาษีแค่ 10,000 บาท
จากการแก้ไขกฎหมายจะทำให้กรมสามารถแยกข้อมูลผู้เสียภาษี รวมทั้งกลุ่มผู้ค้าออนไลน์ได้แม่นยำมากขึ้น โดยจะแยกเป็นกลุ่มดีและกลุ่มเสี่ยง ในกลุ่มดีที่เสียภาษีถูกต้อง ก็จะให้บริการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่วนกลุ่มเสี่ยงก็จะดูว่าเสี่ยงมากหรือเสี่ยงน้อย ในรายที่รายได้ถึงเกณฑ์แต่ไม่เคยมีการยื่นแบบเสียภาษีเลย กรมก็จะส่งหนังสือไปให้ยื่นแบบให้ถูกต้อง หรือ หากเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงมาก ก็จะต้องออกหนังสือเชิญมาพบ พูดคุย
นายปิ่นสาย กล่าวว่า กฎหมายจะเริ่มมีผลบังคับใช้ในปี 2563 และจะมีผลต่อการยื่นแบบเสียภาษีในปี 2564 ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขรายละเอียดในการดำเนินงาน เช่น จะไม่นับข้อมูลผู้ที่ฝาก โอน หรือถอนเงินเข้าบัญชีตัวเอง รวมทั้งการเปิดบัญชีครั้งแรก 2 ล้านบาท ก็จะไม่ให้ส่งข้อมูลเข้ามาที่กรม และการเปิดบัญชีร่วม ที่อยู่ระหว่างหาข้อสรุปว่า จะนับจำนวนที่บุคคลใด ทั้งนี้ เชื่อว่าการแก้ไขกฎหมายจะไม่กระทบกับคนส่วนใหญ่ ซึ่งจากข้อมูลพบว่า คนไทยมีรายได้เฉลี่ย 26,000 บาทต่อเดือน หรือประมาณ 4-5 แสนบาทต่อปี ซึ่งต่ำกว่า 2 ล้านบาท ไม่ต้องเข้าเกณฑ์เสียภาษีอยู่แล้ว
ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 บัญชีอย่างง่าย เพื่อเจ้าของกิจการ Facebook 的最讚貼文
เก็บข้อมูลเงินเข้าปีหน้า 63 ส่งปี 64
คืนนี้มา live เรื่องนี่ดีกว่า
เจอกัน 21.30 น นะคร่า
กรมสรรพากรย้ำกฎหมาย e-Payment ส่งเสริมธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เตรียมใช้ AI แยกผู้เสียภาษีกลุ่มดีหรือกลุ่มเสี่ยง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างความเป็นธรรม
.............................................
นายปิ่นสาย สุรัสวดี โฆษกกรมสรรพากร ได้กล่าวถึง ร่าง พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ ...) พ.ศ. ... เพื่อรองรับระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National e-Payment Master Plan) ว่าทางกรมยืนยันว่าการยกร่างแก้ไขกฎหมาย ได้ผ่านการพิจารณาจากคณะรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา และส่วนที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ ไม่ได้เป็นการแก้ไขกฎหมายที่กระทบต่อสิทธิ เสรีภาพของประชาชนที่เกินกว่าเหตุ เป็นการใช้สิทธิที่ชอบเพื่อประโยชน์สาธารณะ
โดยการแก้ไขกฎหมายมีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เสียภาษี เป็นส่วนหนึ่งของแผนของกรมที่จะเดินหน้าเรื่องอิเล็กทรอนิกส์อย่างเต็มรูปแบบ สาระสำคัญคือ จะช่วยให้การเสียภาษี หัก ณ ที่จ่าย ในอัตรา 3% ซึ่งจากเดิมผู้เสียภาษีจะต้องเตรียมเอกสารมายื่นต่อกรมเอง แต่สถาบันการเงินจะหักภาษีและเป็นผู้ยื่นให้กรมสรรพากรแทนทั้งหมด รวมทั้งกฎหมายใหม่ จะเป็นการรองรับระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิสก์ในการยื่นเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ของผู้ประกอบการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจากเดิมที่ต้องยื่นเอกสารเป็นกระดาษ ก็จะเปลี่ยนเป็นระบบอิเล็กทรอนิสก์แทน
ส่วนกรณีที่กฎหมายกำหนดให้สถาบันการเงินรวมถึง non-Bank ต้องแจ้งข้อมูลบัญชีที่รับเงินเข้าในข่ายที่เป็นธุรกรรมพิเศษ ประกอบด้วย 1.การฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกันตั้งแต่ 3,000 ครั้งต่อปีต่อธนาคาร และ 2. การฝากหรือรับโอนเงินทุกบัญชีรวมกันตั้งแต่ 400 ครั้งต่อปีต่อธนาคาร และยอดรวมของการรับฝากตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไปนั้น กรมฯ ยืนยันว่าเป็นการส่งข้อมูลเท่านั้น ไม่ได้เอาไปตรวจสอบเรียกเก็บภาษี เพราะไม่ใช่ว่าจะตรวจสอบง่ายๆ กรมต้องการเฉพาะข้อมูลเพื่อไปทำการวิเคราะห์พฤติกรรมผู้เสียภาษี กลุ่มผู้เสียภาษี เพื่อทำแผนปรับปรุงประสิทธิภาพจัดเก็บต่อไป
“กรมไม่ได้มีเจตนาแก้ไขกฎหมายโดยมุ่งไปตรวจสอบใคร ธนาคารมีหน้าที่ส่งข้อมูลมาให้กรม และข้อมูลทุกอย่างจะอยู่ในระบบ ไม่มีเจ้าหน้าที่กรมคนไหนได้เห็นข้อมูลที่ส่งมา จะส่งมาเฉพาะ ชื่อ นามสกุล จำนวนครั้งที่ฝากโอน และวงเงินที่ได้รับเท่านั้น” นายปิ่นสาย กล่าว
ส่วนกรณีที่กังวลว่าจะไปเรียกเก็บภาษีจากกลุ่มพ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ และกลุ่มเอสเอ็มอีหรือไม่นั้น กรมยืนยันว่าการแก้ไขกฎหมาย ไม่ได้มีเจตนาโดยตรงที่จะเข้าไปจัดเก็บ ซึ่งตามประมวลรัษฎากร หากกลุ่มผู้ค้าดังกล่าว มีรายได้ถึงเกณฑ์ ก็ต้องยื่นแบบเสียภาษีอยู่แล้ว ไม่ได้หมายความว่ามีการออกกฎหมายแล้วจะต้องเสียภาษี เพราะทุกคนมีหน้าที่เสียภาษีให้ถูกต้อง โดยตาม ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (2-8) กำหนดให้อาชีพอิสระต้องเสียภาษีเหมาจ่าย 0.5% ของรายได้ หรือนำรายได้ไปคูณด้วย 0.005 ซึ่งหากกลุ่มผู้ค้าออนไลน์มีรายได้ถึงเกณฑ์เข้าบัญชี 2 ล้านบาท ก็จะเสียภาษีแค่ 10,000 บาท
จากการแก้ไขกฎหมายจะทำให้กรมสามารถแยกข้อมูลผู้เสียภาษี รวมทั้งกลุ่มผู้ค้าออนไลน์ได้แม่นยำมากขึ้น โดยจะแยกเป็นกลุ่มดีและกลุ่มเสี่ยง ในกลุ่มดีที่เสียภาษีถูกต้อง ก็จะให้บริการที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ส่วนกลุ่มเสี่ยงก็จะดูว่าเสี่ยงมากหรือเสี่ยงน้อย ในรายที่รายได้ถึงเกณฑ์แต่ไม่เคยมีการยื่นแบบเสียภาษีเลย กรมก็จะส่งหนังสือไปให้ยื่นแบบให้ถูกต้อง หรือ หากเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงมาก ก็จะต้องออกหนังสือเชิญมาพบ พูดคุย
นายปิ่นสาย กล่าวว่า กฎหมายจะเริ่มมีผลบังคับใช้ในปี 2563 และจะมีผลต่อการยื่นแบบเสียภาษีในปี 2564 ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขรายละเอียดในการดำเนินงาน เช่น จะไม่นับข้อมูลผู้ที่ฝาก โอน หรือถอนเงินเข้าบัญชีตัวเอง รวมทั้งการเปิดบัญชีครั้งแรก 2 ล้านบาท ก็จะไม่ให้ส่งข้อมูลเข้ามาที่กรม และการเปิดบัญชีร่วม ที่อยู่ระหว่างหาข้อสรุปว่า จะนับจำนวนที่บุคคลใด ทั้งนี้ เชื่อว่าการแก้ไขกฎหมายจะไม่กระทบกับคนส่วนใหญ่ ซึ่งจากข้อมูลพบว่า คนไทยมีรายได้เฉลี่ย 26,000 บาทต่อเดือน หรือประมาณ 4-5 แสนบาทต่อปี ซึ่งต่ำกว่า 2 ล้านบาท ไม่ต้องเข้าเกณฑ์เสียภาษีอยู่แล้ว
ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 ขอนำสรุปประเด็นภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส แห่ง ... 的推薦與評價
1. สำหรับเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นจ่ายให้แก่ผู้ มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล จาก 3% ลงเหลือ 2% ... <看更多>
ประมวลรัษฎากร มาตรา 40 在 เงินได้มาตรา 40(1) และ 40(2) แตกต่างกันหรือไม่ คำนวณภาษีเงินได้ ... 的推薦與評價
ภาษี #ภาษีบุคคลธรรมดา #สรรพากร #เงินได้ เงินได้ประเภท 40 (1) คือเงินได้ในรูปแบบของเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทนจากการทำงานประจำ เงินได้ประเภท 40 (2) ... ... <看更多>